คำขวัญโรงเรียน : มีคุณธรรม ก้าวทันเทคโนโลยี บนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียง

ประวัติและตำนานเวียงเชียงช้าง

แหล่งโบราณเวียงเชียงช้าง ตั้งอยู่ หมู่ที่ 10 บ้านดงตะเคียน ตำบลเจริญเมือง อำเภออำเภอพาน จังหวัดเชียงราย รหัสไปรษณีย์ 57120

ประเภทแหล่งศิลปกรรมฯ

ชุมชนโบราณ เมืองโบราณ อุทยานประวัติศาสตร์
เวียงเชียงช้าง

เวียงเชียงช้าง ตั้งอยู่บนเนินขอบแอ่งที่ราบดอยปุย-ดอยแม่แก้วด้านตะวันตก บนฝั่งขวาห้วยดงตะเคียน ห่งประมาณ 200 เมตร กำแพงเมือง-คูเมืองยังคงสภาพสมบูรณ์ มีคูขุดลึกและคันดินถมสองข้างเป็นแนวล้อมรอบบนเนินสูง รูปร่างกำแพงเมือง-คูเมืองล้อมรอบบริเวณเป็นรูปคล้ายถั่วลิสง 1 ชั้น จำนวน 2 วง เป็นแบบเมืองป้อมภูเขา คูเมืองลึกชันมีคันดินประกบด้านนอกและด้านใน ใช้ประโยชน์ในการป้องกัน การตั้งถิ่นฐานเป็นลักษณะที่แยกตัวออกมาจากกลุ่มเมืองในแอ่งที่ราบเชียงราย-พะเยา โดยครอบครองที่ราบทำนาภายในแอ่งที่ราบดอยปุย-ดอยแม่แก้วทั้งหมด และมีปราการธรรมชาติที่เป็นทิวเขาสูงชันล้อมรอบทั้งสามด้าน
1777817778

วัตถุที่พบในพื้นที่ และบริเวณใกล้เคียง
1778017782

แหล่งอ้างอิง

https://culturalenvi.onep.go.th/site/detail/4902
shorturl.at/lABRZ

 

ประวัติที่รวบรวมประวัติเวียงเชียงช้าง ปัจจุบัน คือหมู่บ้านคงคะเคียน ต.เจริญเมือง อ.พาน จ.เชียงราย

 คณะครูโรงเรียนบ้านป่าบง บ้านโป่งแดง ป่าแดงวิทยา

รวบรวมและเรียบเรียง

 

ประวัติเวียงเชียงช้างปัจจุบัน คือหมู่บ้านดงตะเคียน ต.เจริญเมือง อ.พาน จ.เชียงรายประมาณ พ.ศ.1639 สมัยพญาจอมธรรมครองอาณาจักรภูกามยาว หรือ รัฐพะเยา มีพันนา 36 พันนา( 1 พันนา เท่ากับ 5,000 หลังดา) เวียงเชียงช้าง เป็น สุดเขตแเดนทางทิศเหนือ เป็นพันนาหนึ่งของอาณาจักรภูกามยาวได้ชื่อว่า เป็นพื้นที่อุดมสมบูรณ์ มีขุนน้ำและแหล่งน้ำกว้างใหญ่มีขุนเขารายล้อมเพื่อเป็นปราการธรรมชาติเป็นแหล่งในการเลี้ยงช้าง ขุนเจืองธรรมิกราช เป็นพระราชโอรสของพญาจอมธรรม เป็น พระมหากมัตริย์ ลำดับที่ 2 เมื่อพระองค์ได้ 16 พระชันมาได้เเด็จไปคล้องช้าง ที่เวียงเชียงช้าง

(บางตำนานกล่าวว่าเมืองน่าน) ขุนเจืองธรรมิกราชเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงแสนยานุภาพทางด้านทหารมากที่สุด สามารถรวบรวมและเป็นใหญ่แถบลิ้น 6 ประเทศในอนุภูมิภาคแม่น้ำโขง ทรงขยายพระอำนางตั้งแต่อาณาจักรภูกามยาว (รัฐพะเยา) อาณาจักร โยนก (รัฐหิรัญเงินยาง) อาณาจักรล้านช้าง (หลวงพระบาง) อาณาจักรใดแวด (รัฐแกว หรือปัจจุบันคือ เวียดนามตอนเหนือ เป็นต้น ทรงมีพระนามใช้เรียกถึง 33 พระนาม พระองค์ทรงเป็นมหาราช จนชนชาติต่าง ๆ

ขุนเจืองธรรมิกราชทรงครองราชย์ ขณะพระชนมายุ 37 พระชันษา พระองค์ได้เกณฑ์เอาชายจกรรจ์ และช้างจากเวียงเชียงช้างไปช่วยรบกับเมืองแกวประกัน (วียดนามเหนือ) ได้รับชัยชนะ เมื่อ
พ.ศ. 1677 และทรงสารรคตใน สนามรบ ด้วยวัย 67 พระชันษาในต่างแคน และเหล่าทหารเข้าต่อสู้และแย่งพระศพได้แล้วนำกลับมา ณ เมืองหิรัญเงินยาง

จุลศักราช 624 พ.ศ.1805 พญามังราย(เม็งราย) ได้สร้างเมืองเชียงราย และพ.ส.1819 พญามังรายยกกำลังมาประชิดแดนภูกามยาวของพญางำเมือง พญามังรายให้อ้ายฟ้าไปเจรจาข่าวพญางำเมืองเห็นว่าพญามังรายเป็นสหาย จึงยกกองทัพออกมาต้อนรับโดยธรรมจึงไม่ได้สู้วบกัน พญางำเมืองจึงบำเหน็จเมืองแช่พราน เมืองเชียงเคี๋ยน และเมืองเชียงช้างให้พญามังราย

ขุนคำถือ เป็นกษัตริย์ผู้ตรองนครรัฐพะเยาองค์สุดท้ายต่อมาพญาคำฟูกษัตริย์ราชวงศ์ด้านนาได้ยกกำลังเข้าบุกเข้าโจมตีรัฐพะเยา ใน พ.ศ.1881 พญาคำฟู ได้รับความร่วมมือจากเมืองปัวแห่งรัฐน่าน ทำให้รัฐพะเขาตกอยู่ภายใต้การปกครองของอาณาจักรล้านนา

พ.ศ. 2101 ล้านนาเกิดภัยสงครามถูกบุเรงนอง กษัตริย์ของพม่ายึด ได้ชาวเชียงใหม่และหัวเมืองทั้งหมด รวมทั้งชาวเวียงเชียงช้าง พากันอพยพหนีภัย ที่หนีไม่ทันก็ถูกกวาดต้อน ไปอยู่ถิ่นพม่า จนในเวียงอื่นๆ ในเมืองพานก็ร้างกลายเป็นที่อยู่ของชาวป่า

พ.ค.2314 จ่าบุญมา ข้าราชการเชียงใหม่และเจ้ากาวิละลูกเจ้าฟ้าเมืองลำปางได้สวามิภักดิ์ต่อสมเด็จพระเจ้าตากสินโดยขอความช่วยเหลือจากกษัตริย์สยามให้ส่งกองทัพไปช่วยตีพม่าในล้านนา

พ.ศ.2347 กองทัพด้านนาของพระเจ้ากาวิละร่วมกับกองทัพทางกรุงเทพฯขับไล่พม่าออกจากล้านนา โดยตีที่มั่นแห่งสุดท้ายของพม่าคือเมืองเชียงแสนได้สำเร็จ และพระเจ้ากาวิละกระทำพิธีราชาภิเษกสถาปนาราชวงศ์เจ้าเจ็ดตน พระเจ้ากาวิละ
 
พ.ศ.2380 เจ้าหลวงดาราฤทธิเดช ราชวงศ์เจ้าเจ็ดตนแห่งเมืองลำพูนได้บูรณะเมืองพานหรืออำเภอพานในปัจจุบันซึ่งเป็นที่รกร้างว่างเปล่าให้เป็นบ้านเมืองขึ้นมาใหม่ได้แต่งตั้งนายจับดาโจนหรือพระยาหาญเป็นพ่อเมืองพานคนที่ 1(พ.ศ.2380-2407ต่อมาพระยาไชยเฒ่า เป็นพ่อเมืองพานคนที่ 2 (พ.ศ.2407-2438) และ พระยาไชยชนะสงครามพ่อเมืองพาน
 

เวียงเชียงช้างในอดีด ปัญบัน ตั้งอยู่ในหมู่บ้านดงตะเดียน หมู่ ที่ 10 ค.เจริญเมือง อ.พาน จ.เชียงรายบริเวณเวียงเชียงช้างใบราณมีเนื้อที่ประมาณ 300 ไร่เศษตัวเมืองตั้งอยู่บนชัยภูมิเป็นหลังเต่าตอนกลางนูนสูงและลาดลงทุกด้าน มีคูลึกพาดผ่านจากคะวันตกไปตะวันออก มีขอบคันคูหรือกำแพงเมืองล้อมรอบโดยตลอดมีคูเมือง กว้างประมาณ 46 เมตร ลึก 8-10 เมตรชาวบ้านเรียก "ตือเวียง" บนขอบดันคือมีช่องกว้างที่เชื่อว่าคือประตูเมือง 12 เมตร ทางทิศตะวันออกของเมืองโบราณ มีหนองน้ำขนาดใหญ่ ชาวบ้านเรียกว่า"หนองบัว" บริเวณเมืยงโบราณร้าง พบเศษกระเบื้องดินเผาจำนวนมากมาจากเตาโป่งแดง พบกระดูกฟันช้างและกระดูกช้าง ปัจจุบันได้เก็บรักษาไว้

ทิศใต้ของเมือง ห่างออกไปราว 300 มตร เป็นที่ตั้งของหมู่บ้านละหรือ บิชู โบราณ (คนเมืองรือกว่าลั๊วะ) ประมาณ พ.ศ.2459-2479 มีโรคห่ากินคน(อหิวาตกโรค) ชาวละหรือบิชุ ล้มตายเกืยบทั้งหมู่บ้านที่เหลือก็อพยพไปอยู่ที่อื่นเวียงเชียงช้างโบราณมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ มีความเหมาะสมในการอนุรักษ์และพัฒนาเป็นแหล่งศึกษาหาความรู้ และแหล่งท่องเที่ยวให้กับคนรุ่นหลังได้อนุรักษ์สืบต่อไป

เอกสารอ้างอิง
พระครูโสภณปริยัติสุธี , สังคมทางการเมืองการปกครองในอาณาจักรภูกามยาว (รัฐพะเยาในอดีต)พิมพ์ครั้งที่ 2. พะยา : กอบคำการพิมพ์, 2550
พระราชวิสุทธโสภณ. ประวิติพญางำเมืองเจ้าผู้ครองเมืองพะเยา (สำนนาไทย อนุตรณ์ พระราชพิธีเปิดพระบรมราชานุตาวรีย์สามกษัตวิริย์). เชียงใหม่ :ทิพย์เนตรการพิมพ์, 2527.
สรัสสวคื อัองสกุล. ประวัดิตาสตร์ด้านนา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพ : อมรินทร์พริ้นตึงแอนด์พับลิชซึ่ง จำกัด,2539.
อินทร์ สุใจ, ขรินทร์ แข่มจิต, บุญยัง ชุมศรี.ประวัติศาสตร์อำเภอพาน. เชียงราย : สำนักงานการศึกษาอำเภอพาน, 2534.
อินทร์ สุใจ, ธุรคร ต๊ะยส, มีน ศิริตา. ประวัติตาสตร์"ไทธ์ให้โซง". พิมพ์ครั้งที่ 4. เชียงราย : ส.ภารพิมพ์.
ฮันส์ เพนธ์, พรรณเพ็ญ เครือไทย, ศรีเถาเกษพรหม. ประชุมจารึกล้านนา เก่ม - จารึกในพิพิธภัณที่งเชียงแสน. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ : คลังข้อมูลจารึกล้านนา
สถาบันวิจัยสังคม, 2540.
เอกสารต้นฉบับ

 

กิจกรรมและการบริหารจัดการบนพื้นที่

ปัจจุบันพื้นที่ศูนย์การเรียนรู้ใช้เป็นแหล่งในการปลูกพืชสวนพืชไร่ เช่น เงาะ และลำใย สำหรับให้นักเรียนได้ศึกษาทดลองและนำไปเป็นประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้การงานอาชีพ และการเกษตรกรรมด้านต่างๆ ร่วมกับชุมชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีรูปแบบและกิจกรรมสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลายและนำผลิตผลเป็นวัตถุดิบเสริมให้กับนักเรียนในโครงการอาหารกลางวัน

เวียงเชียงช้างเวียงเชียงช้างเวียงเชียงช้างเวียงเชียงช้างเวียงเชียงช้างเวียงเชียงช้างเวียงเชียงช้างเวียงเชียงช้างเวียงเชียงช้างเวียงเชียงช้าง

การจัดการเรียนรู้และผลิตผลทางการเกษตร

อาหารกลางวัน อาหารกลางวัน อาหารกลางวัน อาหารกลางวัน อาหารกลางวัน อาหารกลางวัน อาหารกลางวัน อาหารกลางวัน อาหารกลางวัน อาหารกลางวัน อาหารกลางวัน อาหารกลางวัน อาหารกลางวัน อาหารกลางวัน อาหารกลางวัน อาหารกลางวัน อาหารกลางวัน อาหารกลางวัน อาหารกลางวัน อาหารกลางวัน อาหารกลางวัน อาหารกลางวัน อาหารกลางวัน อาหารกลางวัน อาหารกลางวัน อาหารกลางวัน อาหารกลางวัน อาหารกลางวัน อาหารกลางวัน อาหารกลางวัน